ส่วนที่เกี่ยวข้องกัน, ระบบชื่อของส่วนประกอบ, ก�รตรวจสอบ, จุดตรวจสอบ – Petzl BASIC_2013 User Manual
Page 24: คว�มเข้�กันได, ก�รติดตั้ง, วิธีก�รใช, ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับม�ตรฐ�น en 365, ข้อมูลทั่วไปของผลิตภัณฑ์ petzl, เครื่องหม�ยและข้อมูล
B18
BASIC
B185100C (160113)
24
TH
เฉพาะข้อมูลทางเทคนิคที่แสดงไว้ในภาพอธิบายที่ไม่มีเครื่องหมายกากบาด / หรือ ไม่ได้
แสดงเครื่องหมายอันตรายเท่านั้น ที่รับรองมาตรฐานการใช้งาน บางตัวอย่างของการใช้
งานผิดวิธีมีให้เห็น, แต่ไม่สามารถบอกได้ถึงการใช้งานที่ผิดทั้งหมด
ตรวจเช็ค www.petzl.com เป็นประจำาอยู่เสมอเพื่อให้ทราบข้อมูลล่าสุด
ติดต่อ Petzl หรือตัวแทนจำาหน่ายถ้ามีข้อสงสัย หรือไม่เข้าใจข้อความในคู่มือนี้
ตัวบีบจับเชือก
1. ส่วนที่เกี่ยวข้องกัน
อุปกรณ์นี้เป็นอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล (PPE)
- ตัวบีบจับเชือกสำาหรับ กิจกรรมไต่ภูเขา และการปีนหน้าผา (EN 567: 2007)
- ตัวไต่ขึ้นสำาหรับเชือกทำางาน (EN 12841 type B: 2006)
อุปกรณ์นี้จะต้องไม่ใช้รับน้ำาหนักเกินกว่าที่ระบุไว้, หรือไม่นำาไปใช้ในวัตถุประสงค์อย่าง
อื่นนอกเหนือกว่าที่ได้ถูกออกแบบมา
คำ�เตือน
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์นี้ เป็นสิ่งที่เป็นอันตร�ย
ผู้ใช้ต้องมีคว�มรับผิดชอบต่อก�รกระทำ�และก�รตัดสินใจ
ก่อนการใช้อุปกรณ์นี้จะต้อง:
- อ่านและทำาความเข้าใจคู่มือการใช้งาน
- การฝึกฝนโดยเฉพาะเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับอุปกรณ์นี้
- ทำาความคุ้นเคยกับความสามารถและข้อจำากัดในการใช้งานของมัน
- เข้าใจและยอมรับความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง
ก�รข�ดคว�มระมัดระวังและละเลยต่อข้อมูลนี้ อ�จมีผลให้เกิดก�รบ�ดเจ็บหรืออ�จถึงแก่
ชีวิต
คว�มรับผิดชอบ
คำาเตือน, การฝึกฝนเป็นพิเศษในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องก่อนการใช้งานเป็นสิ่งจำาเป็นอย่าง
ยิ่ง การฝึกฝนต้องกระทำาอย่างเหมาะสม ตามข้อกำาหนดเกี่ยวกับคุณสมบัติของอุปกรณ์
อุปกรณ์นี้จะต้องถูกใช้งานโดยผู้ที่มีความสามารถเพียงพอและมีความรับผิดชอบ, หรือ
ใช้ในสถานที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบโดยตรงหรือควบคุมได้โดยผู้เชี่ยวชาญ
การฝึกฝนเพิ่มเติมเกี่ยวกับด้านเทคนิคอย่างพอเพียงและการเรียนรู้วิธีการป้องกันเป็น
ความรับผิดชอบส่วนบุคคล
เป็นความรับผิดชอบโดยตรงของผู้ใช้ต่อความเสี่ยงหรือความเสียหาย, การบาดเจ็บหรือ
เสียชีวิต อันอาจเกิดขึ้นระหว่างหรือภายหลังจากการใช้งานที่ผิดพลาดในทุกกรณี ไม่
ควรใช้อุปกรณ์นี้, ถ้าคุณไม่สามารถ หรือไม่อยู่ในสภาวะที่จะรับผิดชอบต่อความเสี่ยง
ที่จะเกิดขึ้น
2. ระบบชื่อของส่วนประกอบ
(1) รูด้านบน, (2) ลูกเบี้ยว, (3) ตัวจับป้องกันภัย, (4) รูเชื่อมต่อด้านล่าง
วัสดุประกอบหลัก: อลูมีนั่มอัลลอยด์, สแตนเลส, พลาสติคชนิดพิเศษ
3. ก�รตรวจสอบ, จุดตรวจสอบ
ก่อนก�รใช้ง�นแต่ละครั้ง
ตรวจเช็คว่าไม่มีรอยแตกร้าว, เสียรูปทรง, มีตำาหนิ, ชำารุด, มีการกัดกร่อนของสนิม,
ฯลฯ
ตรวจเช็คสภาพของโครงสร้าง, รูคล้องเชื่อมต่อ, ลูกล้อและมือจับนิรภัย, สปริงและ
แกนลูกล้อ
เช็คการเคลื่อนไหวของลูกเบี้ยว และการทำางานของสปริงของมัน
ตรวจเช็คฟันลูกเบี้ยวว่าไม่มีการติดขัดของสิ่งแปลกปลอม
คำาเตือน, ห้ามใช้ ตัวบีบจับเชือกที่มีชิ้นส่วนของฟันสึกกร่อนหรือหลุดหายไป
ค้นหาข้อมูลของขั้นตอนการตรวจเช็คสภาพของอุปกรณ์ PPE แต่ละชนิดได้ที่เว็ปไซด์
www.petzl.com/ppe
ติดต่อ Petzl หรือตัวแทนจำาหน่ายถ้ามีข้อสงสัยเกี่ยวกับสภาพของอุปกรณ์นี้
ระหว่�งก�รใช้ง�นแต่ละครั้ง
เป็นเรื่องสำาคัญอย่างยิ่งที่ต้องตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์อยู่เป็นประจำา และการต่อ
เชื่อมอุปกรณ์เข้ากับอุปกรณ์ตัวอื่นในระบบ แน่ใจว่าทุกชิ้นส่วนของอุปกรณ์ในระบบ
อยู่ในตำาแหน่งที่ถูกต้องกับชิ้นส่วนอื่น
คำาเตือน:
- สิ่งแปลกปลอมที่อาจเข้าไปติดขัดการทำางานของลูกเบี้ยว
- สิ่งขัดขวางการทำางานของตัวจับนิรภัยซึ่งทำาให้ลูกเบี้ยวถูกดันเปิดออก
4. คว�มเข้�กันได้
ตรวจเช็คว่าอุปกรณ์นี้ สามารถใช้งานเข้ากันได้ดีกับอุปกรณ์อื่นในระบบ (เข้ากันได้ดี =
ใช้งานด้วยกันได้โดยไม่ติดขัด)
ตัวเชื่อมต่อ
แน่ใจว่า ห่วงล็อคคาราไบเนอร์ใช้งานได้ดีกับตัวบีบจับเชือก (รูปทรง, ขนาด,ฯลฯ)
5. ก�รทำ�ง�นและก�รทดสอบ
ตัวบีบจับเชือกนี้เป็นอุปกรณ์เพื่อการไต่ขึ้นเชือก ด้วยการลื่นไหลตัวขึ้นบนเชือกหนึ่ง
จังหวะ และหยุดยั้งตามการควบคุม
ฟันของลูกเบี้ยวทำางานโดยการกดจิกลงบนเชือกที่อยู่ระหว่างลูกเบี้ยวและเฟรม ช่องว่าง
ที่อยู่ระหว่างลูกล้ออาจเป็นเหตุให้ฝุ่นโคลนเข้าไปติดฝังอยู่
ในการติดตั้งอุปกรณ์บนเชือกทุกครั้ง, ให้ตรวจเช็คว่ามันบีบกดไปในทิศทางที่ต้องการ
เสมอ
6. ก�รติดตั้ง
ดึงที่แผงมือจับป้องกันภัยลงและล็อคมันกับเฟรมของอุปกรณ์ ตัวลูกเบี้ยวจะเปิดค้างอยู่
ใส่เชือกให้ตรงตามตำาแหน่ง ทำาตามเครื่องหมายที่แสดงการ ขึ้น/ ลง ผลักแผ่นมือจับ
เข้าไป ซึ่งจะทำาให้ลูกล้อดันติดกับเชือก ในตำาแหน่งนี้ แผ่นมือจับจะช่วยไม่ให้ลูกล้อดัน
เปิดออกเองโดยไม่ได้ตั้งใจ
ก�รปลดออกจ�กเชือก
เลื่อนอุปกรณ์ขึ้นบนเชือกในขณะดึงตัวจับนิรภัยลงและดันออก
7. วิธีก�รใช้
ก�รไต่ขึ้นบนเชือก
a. ตัวอุปกรณ์ต้องรับน้ำาหนักในทิศทางที่ขนานกับเส้นเชือก เพื่อหลีกเลี่ยงการเลื่อน
ไหลของอุปกรณ์บนเชือก, อย่าดึงหรือกดตัวอุปกรณ์ในขณะที่เชือกเป็นมุมเอียงหรือ
ไม่อยู่ในแนวดิ่ง
b. ในขณะผ่านสิ่งกีดขวาง หรือการผ่านการคุมเชือก, ถ้าไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเอียง
มุมของเชือก, ทำาการเซฟเชือกด้วยเชือกสั้นที่ใช้ต่อกับตัวเชื่อมต่อ
c. ข้อควรระวังที่ต้องปฏิบัติเมื่อเข้าใกล้กับจุดผูกยึด
ห้ามไต่ขึ้นเหนือตัวบีบจับเชือก หรือจุดผูกยึด และผูกยึดเชือกสั้นให้ตึงเสมอ
เมื่อมีการตกเกิดขึ้น, เชือกจะช่วยลดแรงตกกระชาก ยิ่งอยู่ใกล้กับจุดผูกเท่าไหร่,
ประสิทธิภาพการดูดซับแรงของเชือกจะยิ่งลดลงมากเท่านั้น, และอาจจนกระทั่งถึง
กับไม่มีเลย
หลีกเลี่ยงการถ่วงน้ำาหนักเมื่ออยู่ใกล้จุดผูกยึด
ก�รยกย้�ยของหนัก
เพื่อการยกย้ายที่เหมาะสม, ติดต้ัง BASIC บนด้านที่รับน้ำาหนัก แนะนำาให้ใช้ร่วมกับ
รอก PARTNER
คำาเตือน, การปลดล็อคภายใต้น้ำาหนักถ่วงต้องอาศัยทักษะและความรู้ในด้านการยกย้าย
ลำาเลียงของหนัก
ห้�มใช้ เพื่อก�รควบคุมเชือกด้วยตัวเอง
8. ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ EN 12841 type B
BASIC เป็นอุปกรณ์สำาหรับเชือก type B ใช้เพื่องานไต่ขึ้นเชือก
BASIC ต้องใช้ร่วมกับอุปกรณ์หลัก (type A backup) บนเชือกเส้นที่ 2 (เชือกเซฟ) (เช่น
ASAP ตัวยับยั้งก�รตกสำ�หรับเชือก)
BASIC ไม่เหมาะสำาหรับใช้ในระบบยับยั้งการตก
ได้การรับรองมาตรฐาน EN 12841: 2006 type C: ใช้เชือกขนาด 10-11 ม.ม. EN 1891
type A แบบ semi -static (แกนเชือก + ปลอกเชือก) (หมายเหตุ: ในการทดสอบได้รับ
การรับรองว่าใช้ได้กับเชือก BEAL Antipodes 10 มม. และ 11.5 มม.)
-ใช้ร่วมกับหมวดตัวต่อที่มีความยาวสูงสุดไม่เกิน 1 เมตร (เชือกสั้น + ตัวต่อ + อุปกรณ์)
-เพื่อลดความเสี่ยงจากการตก, เชือกที่อยู่ระหว่างตัว บีบจับเชือก กับจุดผูกยึดต้องตึง
อยู่เสมอ
ไม่อนุญาตให้ใช้เชือกเซฟทำาการรับแรงในขณะที่เชือกเส้นทำางานอยู่ในสภาพที่ตึง
ด้วยน้ำาหนักที่ถูกกดอย่างแรงเกินไปอาจทำาให้ระบบควบคุมเชือกเสียหาย
แรงดึงกระชากสูงสุดตามปกติ = 140 กก
คำาเตือน: สำาหรับผู้ใช้งานที่มีน้ำาหนักมากกว่า 100 กก, ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ การใช้งาน
ของผู้ที่มีน้ำาหนักเกินกว่า 100 กก ได้ที่เว็ปไซด์ www.petzl.com
9. ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับม�ตรฐ�น EN 365
ก�รว�งแผนก�รช่วยเหลือ
คุณจะต้องมีแผนการกู้ภัย และรู้วิธีการทำาได้อย่างรวดเร็วในกรณีที่ประสบความยุ่งยาก
ขึ้นในขณะที่ใช้อุปกรณ์นี้
จุดผูกยึด
จุดผูกยึดในระบบ จะต้องอยู่เหนือตำาแหน่งของผู้ใช้งาน ตามข้อกำาหนดของมาตรฐาน
EN 795 (ความแข็งแรงของจุดผูกยึดต้องไม่น้อยกว่า 10 kN)
หล�ยหัวข้อที่ควรรู้
- ในระบบยับยั้งการตก, เป็นสิ่งสำาคัญที่จะต้องตรวจเช็คพื้นที่ว่างด้านใต้ของผู้ใช้งาน
ก่อนการใช้งานทุกครั้ง,เพื่อหลีกเลี่ยงการหล่นไปกระแทกกับพื้นหรือสิ่งกีดขวางใน
กรณีที่มีการตกเกิดขึ้น
- ต้องแน่ใจว่า จุดผูกยึดอยู่ในตำาแหน่งที่ถูกต้อง, เพื่อลดความเสี่ยง และความสูงของ
การตก
- สายรัดนิรภัยเป็นเพียงอุปกรณ์ที่ช่วยพยุงร่างกาย ในระบบยับยั้งการตกเท่านั้น
- เมื่อใช้อุปกรณ์หลายชนิดร่วมกัน, อาจเกิดผลร้ายต่อความปลอดภัยในกรณีที่อุปกรณ์
ชนิดหนึ่งถูกลดประสิทธิภาพลงด้วยส่วนประกอบเพื่อความปลอดภัยของอุปกรณ์
ชนิดอื่น
- คำาเตือน อันตราย, หลีกเลี่ยงการถูกสัมผัสกับสิ่งของมีคม หรือวัตถุที่สามารถกัดกร่อน
ได้
- ผู้ใช้งานต้องมีสภาพร่างกายแข็งแรง เหมาะกับกิจกรรมในที่สูง คำาเตือน, การขาด
ความระมัดระวังและละเลยต่อข้อมูลนี้ อาจมีผลให้เกิดการบาดเจ็บหรืออาจถึงแก่ชีวิต
- คู่มือการใช้งานของอุปกรณ์แต่ละชนิดที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์นี้ต้องได้รับการยอมรับ
ตามมาตรฐาน
- ถ้าอุปกรณ์ ถูกส่งไปจำาหน่ายยังนอกอาณาเขตของประเทศผู้เป็นแหล่งผลิต ตัวแทน
จำาหน่ายจะต้องจัดทำาคู่มือการใช้งานในภาษาท้องถิ่นของประเทศที่อุปกรณ์นี้ถูกนำา
ไปใช้งาน
10. ข้อมูลทั่วไปของผลิตภัณฑ์ Petzl
อ�ยุก�รใช้ง�น / ควรยกเลิกก�รใช้อุปกรณ์เมื่อไร
สำาหรับผลิตภัณฑ์ Petzl ที่ทำาจาก พลาสติค หรือ สิ่งทอ, จะมีอายุการใช้งานมากที่สุด 10
ปี นับจากวันที่ผลิต ไม่จำากัดอายุการใช้งาน สำาหรับผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากโลหะ
ข้อควรระวัง:ในกิจกรรมที่มีการใช้อย่างรุนแรงอาจทำาให้อุปกรณ์ต้องถูกเลิกใช้แม้หลัง
จากการใช้งานเพียงครั้งเดียว, ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับชนิดของการใช้งานและสภาพแวดล้อม
(สภาพที่แข็งหยาบ, สิ่งของมีคม, สภาพอากาศที่รุนแรง, สารเคมี ฯลฯ)
อุปกรณ์จะต้องเลิกใช้ เมื่อ:
- มีอายุเกินกว่า 10 ปี สำาหรับผลิตภัณฑ์ พลาสติค หรือสิ่งทอ
- ได้เคยมีการตกกระชากอย่างรุนแรง (เกินขีดจำากัด)
- เมื่อไม่ผ่านการตรวจเช็คสภาพ เมื่อมีข้อสงสัยหรือไม่แน่ใจ
- เมื่อไม่ทราบถึงประวัติการใช้งานมาก่อน
- เมื่อตกรุ่น ล้าสมัย จากการเปลี่ยนกฏเกณฑ์, มาตรฐาน, เทคนิค หรือ ความเข้ากันไม่ได้
กับอุปกรณ์อื่น ๆ ในระบบ ฯลฯ
ทำ�ล�ยอุปกรณ์เพื่อหลีกเลี่ยงก�รนำ�กลับม�ใช้อีก
ก�รตรวจเช็คอุปกรณ์
นอกเหนือจากการตรวจสอบสภาพอุปกรณ์ตามปกติก่อนการใช้งาน, จะต้องทำาการ
ตรวจเช็คอุปกรณ์อย่างละเอียดโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ ความถี่และความคุมเข้มในการ
ตรวจสอบอุปกรณ์ต้องครอบคลุมตามข้อกำาหนดการใช้, ชนิดและความเข้มข้นในการ
ใช้ Petzl แนะนำาให้ทำาการตรวจเช็คอุปกรณ์โดยผู้เชี่ยวชาญมีกำาหนดอย่างน้อย ทุก ๆ
12 เดือน
เพื่อช่วยให้สามารถดูแลรักษาอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง, อย่าแกะหรือดึงแผ่นป้าย
เครื่องหมายบนอุปกรณ์ออก
ผลของการตรวจเช็คควรได้รับการบันทึกไว้เป็นแบบฟอร์มประกอบด้วยรายละเอียดต่อ
ไปนี้: ชนิดของอุปกรณ์, รุ่น, รายละเอียดของผู้ผลิต, หมายเลขกำากับ หรือ เลขที่เฉพาะ
ของอุปกรณ์,วันเดือนปีที่ผลิต, วันที่สั่งซื้อ, วันที่ถูกใช้งานครั้งแรก, วันที่ตรวจเช็คครั้ง
ต่อไป, ปัญหาที่พบ, ความเห็น, ชื่อและลายเซ็นต์ของผู้ตรวจเช็ค
ดูข้อมูลตัวอย่างเพิ่มเติมได้ที่ www.petzl.com/ppe
ก�รเก็บรักษ�, ก�รขนส่ง
เก็บรักษาอุปกรณ์ในที่แห้งให้ห่างจากแสง UV, สารเคมี, สภาพอากาศที่รุนแรง, ฯลฯ
ความสะอาดและทำาให้แห้งก่อนเก็บ
ก�รดัดแปลง, ก�รซ่อมแซม
การปรับปรุงหรือแก้ไขดัดแปลง โดยไม่ได้รับอนุญาตจาก Petzl เป็นข้อห้ามมิให้กระทำา
(ยกเว้น ในส่วนที่ใช้ทดแทน)
อุปกรณ์มีก�รรับประกันเป็นเวล� 3 ปี
เกี่ยวกับวัตถุดิบหรือความบกพร่องจากการผลิต ข้อยกเว้นจากการรับประกัน: การ
ชำารุดบกพร่องจากการใช้งานตามปกติ, ปฏิกิริยาจากสารเคมี, การปรับปรุงแก้ไข
ดัดแปลง, การเก็บรักษาไม่ถูกวิธี, ความเสียหายจากอุบัติเหตุ, ความประมาทเลินเล่อ,
การนำาไปใช้งานที่นอกเหนือจากที่อุปกรณ์นี้ถูกกำาหนดไว้
คว�มรับผิดชอบ
PETZL ไม่ต้องรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นทั้งทางตรง ทางอ้อม หรืออุบัติเหตุ หรือจาก
ความเสียหายใด ๆ ที่เกิดขึ้นจากการตก หรือผลจากการใช้ผลิตภัณฑ์นี้
เครื่องหม�ยและข้อมูล
a. ข้อมูลบ่งบอกการผลิตของอุปกรณ์ PPE นี้
b. ข้อมูลของมาตรฐาน CE ที่อุปกรณ์ได้รับการทดสอบ
c. ข้อมูล: แหล่งผลิต = รายละเอียดอุปกรณ์ + หมายเลขกำากับเฉพาะ
d. ขนาด
e. หมายเลขกำากับเฉพาะ
f. ปีที่ผลิต
g. วันที่ผลิต
h. การดูแลควบคุม หรือชื่อของผู้ตรวจสอบ
i. ข้อมูลเพิ่มเติม
j. มาตรฐานของอุปกรณ์นี้
k. อ่านข้อมูลการใช้งานโดยละเอียด