Th เพื่อความปลอดภัยของทาน – Fein AFSC 18 User Manual
Page 134

134
th
เพื่อความปลอดภัยของทาน
ตองอานคําเตือนเพื่อความปลอดภัยและคําสั่งทั้งหมด
การไมปฏิบัติตามคําเตือนและคําสั่งอาจเปนสาเหตุใหถูก
ไฟฟาดูด เกิดไฟไหม และ/หรือไดรับบาดเจ็บอยางรายแรง
เก็บรักษาคําเตือนและคําสั่งทั้งหมดสําหรับใชอางอิงในภายหลัง
อยาใชเครื่องมือไฟฟา กอนไดอานหนังสือคูมือการใชงานนี้ รวมทั้ง "คําเตือน
ทั่วไปเพื่อความปลอดภัย" ที่แนบมา (เอกสารเลขที่ 3 41 30 054 06 1)
อยางละเอียดและเขาใจอยางครบถวนแลว เก็บรักษาเอกสารดังกลาว
สําหรับใชในภายหลัง และใหแนบไปกับเครื่องมือไฟฟาหากนําไปแจกจายหรือขาย
กรุณาปฏิบัติตามกฎระเบียบเพื่อความปลอดภัยทางอุตสาหกรรมที่ใชในประเทศที่
เกี่ยวเนื่องดวยเชนกัน
ประโยชนการใชงานของเครื่องมือไฟฟา:
เครื่องมือไฟฟาใชมือนําทาง สําหรับทํางานโดยไมตองใหน้ําในบริเวณปลอดภัยจาก
สภาพอากาศ โดยใชเครื่องมือและอุปกรณประกอบที FEIN แนะนํา
– สําหรับตัดสันนูนของกาว-โพลียูรีเทน สําหรับงานช างกระจกในรถยนต รถ
บรรทุก และรถโดยสารประจําทาง
– สําหรับเลื่อยสวนโครงฐานรถ และเอาวัสดุพนพื้น/สีโปวออก
– สําหรับขัดชิ้นสวนโครงฐานรถ
– สําหรับเลื่อยไม (สูงสุด
78 มม.) พลาสติก พลาสติกเสริมใยแกว (GFRP)
และสําหรับเลื่อยโลหะแผน (สูงสุด 1 มม.)
– สําหรับตัดออกรอยตอกระเบื้อง และถูหรือขูดปูนยาแนวกระเบื้อง หรือเศษตกคาง
ของพรม
– สําหรับขัดหรือถูพื้นผิวเล็กๆ
คําเตือนพิเศษเพื่อความปลอดภัย
จับเครื่องมือไฟฟาตรงพื้นผิวที่หุมฉนวน เมื่อทํางานในบริเวณที่เครื่องมืออาจสัมผัส
กับสายไฟฟาที่ซอนอยู การสัมผัสลวดไฟฟาที่มี "กระแสไฟฟาไหลผาน" จะทำใหสวนที่
เปนโลหะของเครื่องมือไฟฟาเกิดมี "กระแสไฟฟาไหลผาน" ทําใหผูใชเครื่องถูกไฟฟา
ดูดได
ใชปากกาหนีบหรือวิธีอื่นที่ไดผลเพื่อยึดและค้ําพยุงชิ้นงานเขากับแทนรองรับที่มั่นคง
การจับงานดวยมือ หรือยันไวกับรางกาย จะไมม ั่นคง และอาจทําใหสูญเสียการควบคุม
ได
จับเครื่องมือไฟฟาในลักษณะไมใหเครื่องมือส ัมผัสกับรางกายของทานอยางเด็ดขาด
โดยเฉพาะอยางยิ่งขณะทํางานกับเครื่องมือ เชน ใบเลื่อย หรือเครื่องมือตัดอื่นๆ ที่ชี้เขาหา
บริเวณจับ การสัมผัสกับปลายแหลมคมหรือขอบตัดอาจทําใหบาดเจ็บได
สวมอุปกรณปกปองรางกาย ใชหนากากหรือสวมแวนครอบตานิรภัยแลวแตกรณี สวม
หนากากกันฝุน สวมอุปกรณปองกันหู อุปกรณปองกันตาตองสามารถปกปองอนุภาค
ที่ปลิวกระจัดกระจายจากการทํางานรูปแบบตางๆ กัน หนากากกันฝุนหรือหนากาก
ปองกันแกสพิษตองสามารถกรองอนุภาคที่เกิดจากการทํางานของทาน การไดรับเสียงดัง
อยูตลอดเวลาอาจทําใหสูญเสียการไดยิน
สวมถุงมือปองกัน อันตรายจากการบาดเจ็บจากอุปกรณที่มีขอบแหลมคม
อยาตอกหมุดหรือขันสกรูเพื่อติดปายชื่อและเครื่องหมายใดๆ เขากับเครื่องมือไฟฟา หาก
ฉนวนหุมชํารุด จะปองกันไฟฟาดูดไมได ขอแนะนำใหใชปายติดกาว
ทําความสะอาดชองระบายอากาศที่เครื่องมือไฟฟาตามชวงเวลาเปนประจําโดยใช
เครื่องมือที่ไมใชโลหะ เครื่องเปาลมของมอเตอรจะดูดฝุนเขาในครอบเครื่อง หาก
ฝุนที่ประกอบดวยโลหะสะสมกันมากเกินไป อาจทําใหเกิดอันตรายจากไฟฟาได
การใชและการจัดการกับแบตเตอรี่ (แพ็คแบตเตอรี )
เพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณอันตราย ตัวอยาง เชน การเผาไหม เปลวไฟ การระเบิด
การบาดเจ็บที่ผิวหนัง และการบาดเจ็บอื่นๆ เมื่อหยิบจับและใชงานแบตเตอรี่ ให
ปฏิบัติตามคําสั่งดังตอไปนี้:
อยาแยกหรือถอดสวนประกอบแบตเตอรี่ เปด หรือทำเปนเศษเล็กเศษนอย อยาให
แบตเตอรี่ถูกกระทบทางกลไกหรือถูกกระแทกอยางแรง ไอระเหยและของเหลวที่เปน
อันตรายสามารถลอดออกมาในกรณีที่แบตเตอรี่ชํารุดและใชงานอยางไมถูกตอง ไอ
ระเหยสามารถทําใหระบบหายใจระคายเคือง ของเหลวท ี่ขับออกมาจากแบตเตอรี่อาจ
ทําใหผิวหนังระคายเคืองหรือถูกเผาไหม
เมื่อของเหลวแบตเตอรี่จากแบตเตอรี่ที่ชํารุดไปถูกวัตถุบริเวณใกลเคียง ใหตรวจสอบ
สวนประกอบนั้น ทําความสะอาด หรือเปลี่ยนใหม ตามจําเปน
เอาแบตเตอรี่ออกหางจากความรอนและเปลวไฟ อยาเก็บรักษาแบตเตอรี่ในสถานที่
แสงแดดสองโดยตรง
อยาเอาแบตเตอรี่ออกจากหีบหอที่มีมาแตเดิมจนกวาจะนําออกมาใชงาน
นําแบตเตอรี่ออกจากเครื่องมือไฟฟา กอนปรับแตงเครื่อง หากเครื่องมือไฟฟาติดขึ้นโดย
ไมตั้งใจ จะเกิดอันตรายจากการบาดเจ็บ
ถอดแบตเตอรี่ออก เมื่อเครื่องมือไฟฟาปดสวิทช อยูเทานั้น
เอาแบตเตอรี่ออกหางจากเด็กๆ
รักษาแบตเตอรี่ใหสะอาด และปกปองแบตเตอรี่จากความชื้นและน้ํา ทําความสะอาดขั้วที่
สกปรกของแบตเตอรี่และเครื่องมือไฟฟาดวยผาแหงที่สะอาด
ตัวอักษร
หนวยการวัด สากล
หนวยการวัด แหงชาติ
คําอธิบาย
U
V
V
แรงดันไฟฟากระแสตรง
n
S
/min
/min
อัตราแกวงสะเทือนกําหนด
L
wA
dB
dB
ระดับความดังเสียง
L
pA
dB
dB
ระดับความดันเสียง
L
pCpeak
dB
dB
ระดับความดันเสียงสูงสุด
K...
ความคลาดเคลื่อน
a
m/s
2
m/s
2
คาความสั่นสะเทือนตามมาตรฐาน EN 60745 (ผลรวมเชิงเวกเตอร
ของสามทิศทาง)
m, s, kg, A, mm, V,
W, Hz, N, °C, dB,
min, m/s
2
m, s, kg, A, mm, V,
W, Hz, N, °C, dB,
min, m/s
2
หนวยฐาน และ หนวยอนุพันธ จากระบบหนวยระหวางประเทศ SI
OBJ_BUCH-0000000003-001.book Page 134 Monday, April 12, 2010 2:11 PM