beautypg.com

การจัดการกับฝุนอันตราย, การสั่น มือ/แขน, คาการปลอยการสั่น – Fein FSC 1.6 User Manual

Page 121

background image

121

th

จับเครื่องมือไฟฟาในลักษณะไมใหเครื่องมือส ัมผัสกับรางกาย

ของทานอยางเด็ดขาด โดยเฉพาะอยางยิ่งขณะทํางานกับ

เครื่องมือ เชน ใบเลื่อย หรือเครื่องมือตัดอื่นๆ ที่ชี้เขาหาบริเวณ

จับ การสัมผัสกับปลายแหลมคมหรือขอบตัดอาจทําให

บาดเจ็บได
สวมอุปกรณปองกันเฉพาะตัว สุดแลวแตกรณีใหใชกระบัง

ปองกันหนา สวมแวนตากันลมและฝุน หรือ แวนตาปองกัน

อันตราย สุดแลวแตความเหมาะสมใหสวมหนากากกันฝุน สวม

ประกบหูปองกันเสียงดัง สวมถุงมือ และสวมผากันเปอน

พิเศษที่สามารถกันผงขัดหรือเศษชิ้นงานออกจากต ัวทานได

แวนปองกันตาตองสามารถหยุดเศษผงที่ปลิววอนที่เกิดจาก

การปฏิบัติงานแบบตางๆ ได การไดยินเสียงดังมากเปนเวลา

นานอาจทําใหทานสูญเสียการไดยิน
อยาหันเครื่องมือไฟฟาไปยังตัวทานเอง บุคคลอ ื่น หรือสัตว

อันตรายจากการไดรับบาดเจ็บจากเครื่องมือที่ร อนหรือแหลมคม
อยาตอกหมุดหรือขันสกรูเพื่อติดปายชื่อและเครื่องหมายใดๆ

เขากับเครื่องมือไฟฟา หากฉนวนหุมชํารุด จะปองกันไฟฟาดูด

ไมได ขอแนะนําใหใชปายติดกาว
ทําความสะอาดชองระบายอากาศที่เครื่องมือไฟฟาตามชวง

เวลาเปนประจําโดยใชเครื่องมือที่ไมใชโลหะ เครื่องเปาลมของ

มอเตอรจะดูดฝุนเขาในครอบเครื่อง หากฝุนที่ประกอบดวย

โลหะสะสมกันมากเกินไป อาจทําใหเกิดอันตรายจากไฟฟาได
กอนเริ่มตนทํางาน ใหตรวจสอบสายไฟฟาและปลั๊กไฟฟาเพื่อ

หาจุดชํารุด
ขอแนะนํา: ใชเครื่องมือไฟฟาทํางานผานอุปกรณปองกันไฟดูด

(RCD)

ที่มีขนาดกระแสไฟฟากําหนด

30 mA

หรือนอยกวาเสมอ

การจัดการกับฝุนอันตราย

เมื่อใชเครื่องมือไฟฟานี้สําหรับไสวัสดุออก อาจเกิดฝุนที่เปน

อันตรายตอสุขภาพ

การสัมผัสหรือหายใจเอาฝุนบางประเภทเขาไป ต. ย. เชน

แอสเบสทอส หรือวัสดุที่มีแอสเบสทอส เคลือบผิวท ี่มีสารตะกั่ว

โลหะ ไมบางประเภท แรธาตุ และอนุภาคซิลิเกตจากวัสดุผสม

หิน ตัวทําละลายสี ผลิตภัณฑรักษาเนื้อไม สีกันเพรียงสําหรับ

เรือเดินสมุทร สามารถกระตุนใหเกิดปฏิกิริยาแพแกผูใชเครื่อง

หรือผูที่ยืนอยูใกลเคียง และ/หรือนํามาซึ่งโรคติดเชื้อระบบ

หายใจ มะเร็ง ความผิดปกติแตกําเนิด หรืออันตรายตอการ

เจริญพันธุอื่นๆ อันตรายจากการหายใจเอาฝุนเข าไปขึ้นอยูกับ

การรับฝุน ใหใชอุปกรณดูดฝุนที่กําหนดใหใช ไดกับฝุนที่เกิดขึ้น

รวมทั้งใชอุปกรณปองกันรางกาย และจัดสถานที ทํางานใหมี

การระบายอากาศที่ดี ปลอยใหวัสดุที่มีแอสเบสทอสเปนงาน

ของผูเชี่ยวชาญ

ฝุนไมและฝุนที่เปนโลหะเบา สวนผสมรอนๆ ของผงขัด และ

เคมีวัสดุ สามารถลุกไหมดวยตนเองภายใตสภาพแวดลอมที่

ไมพึงประสงค หรืออาจทําใหเกิดระเบิดได หลีกเลี่ยงไมให

ประกายไฟแลบไปยังทิศทางอุปกรณเก็บผง รวมทั้งอยาให

เครื่องมือไฟฟาและวัสดุที่ขัดรอนเกินไป ถายอุปกรณเก็บผง/

ถังผงใหทันทวงที ปฏิบัติตามคําแนะนําในการทํางานของบริษัท

ผูผลิตวัสดุ รวมทั้งกฎขอบังคับที่เกี่ยวกับว ัสดุชิ้นงาน ที่บังคับ

ใชในประเทศของทาน

การสั่น มือ/แขน

ระดับการสั่นที่ใหไวในแผนขอมูลนี้วัดตามการทดสอบที่ได

มาตรฐานที่ระบุใน

EN 60745

และอาจใชสําหรับเปรียบเทียบ

เครื่องมือไฟฟาหนึ่งกับเครื่องอื่นๆ ได ระดับการสั่นยังอาจใช

สําหรับประเมินการสั่นของเครื่องเมื่อใชงานในเบื้องตนได

อีกดวย

ระดับการสั่นที่ใหไวนี้แสดงการใชงานสวนใหญของ

เครื่องมือไฟฟา อยางไรก็ดี หากเครื่องมือไฟฟ าถูกใชเพื่อทํางาน

ประเภทอื่น ใชรวมกับอุปกรณประกอบที่ผิดแปลกไป หรือ

ไดรับการบํารุงรักษาไมดีพอ ระดับการสั่นอาจผิดแผกไป ปจจัย

เหลานี้อาจเพิ่มระดับการสั่นอยางชัดเจนตลอดระยะเวลา

ทํางานทั้งหมด

เพื่อประมาณระดับการสั่นใหไดแนนอน ควรนําเวลาขณะ

เครื่องมือไฟฟาปดสวิทชทํางานหรือขณะเครื่องกําลังวิ่งแต

ไมไดทํางานจริงมาพิจารณาดวย ปจจัยเหลานี้อาจลดระดับ

การสั่นอยางชัดเจนตลอดระยะเวลาทํางานทั้งหมด

วางมาตรการเพื่อความปลอดภัยเพิ่มเติมเพื่อปกป องผูใชงาน

เครื่องจากผลกระทบของการสั่น เชน: บํารุงรักษาเครื่องมือ

ไฟฟาและอุปกรณประกอบ ทํามือใหอุนไว จัดระเบียบลําดับงาน

คาการปลอยการสั่น

การสั่น
การแบงประเภทของเครื่องมือ

FEIN

ตามระดับการสั่น

อัตราเรงประเมิน*

VC0

< 2.5 m/s

2

VC1

< 5 m/s

2

VC2

< 7 m/s

2

VC3

< 10 m/s

2

VC4

< 15 m/s

2

VC5

> 15 m/s

2

K

3 m/s

2

* คาเหลานี้อิงกับรอบการทํางานคือ การเดินตัวเปลาและการใช

งานจริง ในระยะเวลาเทากัน

สําหรับขอมูลเกี่ยวกับระดับการสั่นที่กําหนดให กับเครื่องมือ กรุณาดู

ในเอกสารขอมูลที่แนบมา

3 41 30 213 06 2

OBJ_BUCH-0000000084-001.book Page 121 Tuesday, July 17, 2012 9:00 AM